จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สัตว์เลี้ยงน่าร๊าก >0<" <<งูหลาม>>


งูหลาม
Bivitattus Python(Burmese Python)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Python molurus bivitattus

ลักษณะทั่วไป
เป็นงูที่มีขนาดใหญ่มาก ลำตัวอ้วนสั้น หางสั้นไม่ยาวเหมือนงูเหลือม สีและลายผิดกับงูเหลือม ลายที่หัวผิดกับงูเหลือมอย่างเห็นได้ชัด มีแถบสีขาวจากบริเวณริมท้ายทอยต่อจากลำตัวมาจรดกันที่ปลายจมูก มีลักษณะรูปหน้าจั่วลายศรที่หัวสีขาว

ถิ่นอาศัย, อาหาร
มีทุกภาคในประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้แถบติดต่อมาเลเซีย
งูหลามกินสัตว์ เช่น เก้ง กระต่าย หนู เป็ด ไก่ นก

พฤติกรรม, การสืบพันธุ์
อุ้ยอ้าย เลื้อยช้า ไม่ดุนัก เป็นงูเชื่องช้าและไม่มีพิษ ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ ไม่ออกหากินไกลจากโพรงที่อยู่นัก คอยนอนดักจับสัตว์ที่เผลอเดินเข้ามาใกล้กิน ไม่ชอบลงหากินในน้ำ
งูหลามออกไข่ครั้งละประมาณ 40 ฟอง ระยะฟักเป็นตัวประมาณ 2 เดือน มีอายุยืนประมาณ 15 ปี

สถานภาพปัจจุบัน
เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 สถานที่ช

สถานที่ชม
สวนสัตว์ดุสิต สวนสัตว์เปิดเขาเขียว สวนสัตว์เชียงใหม่ สวนสัตว์นครราชสีมา

สัตว์เลี้ยงน่าร๊าก >0<" <<ชูก้าไรเดอร์>>

ชูก้าไกเดอร์(Sugar glider)หรือที่เรียกกันว่า กระรอกบินออสเตเรีย
ชูก้าไกเดอร์ คือสัตว์ที่มีกระเป๋าหน้าท้องสำหรับเลี้ยงดูลูกอ่อน (pouch) มีถิ่นกำเหนิด ใน Australia,Tasmania,Papua-New Guinea และ Indonesia พวกมันเป็นสัตว์หา กินกลางคืน ใช้ชีวิตส่วนใหญ่บนต้นไม้ ชูก้า มีน้ำหนัก ประมาณ 90-150 กรัม ขนาดของลำตัวตั้งแต่จมูกถึงปลายหางยาวประมาณ 12 นิ้ว มี ขนที่นิ่มละเอียด(มากๆครับ) แน่น เป็นสีเท่าหรือน้ำตาลตั้งแต่ลำตัวไปจนถึง หาง และมีแถบสีดำหรือน้ำตาลเข้มที่เริ่มระหว่างตา และ แผ่ขยายไปจนถึงแผ่น หลังของพวกมัน
ชูก้าไกเดอร์ มีดวงตาที่โปน และมีขนาดใหญ่ ขางลำตัวมีผังผืด ที่เหยียดจากข้อมือไปจนถึงข้อเท้าของพวกมันทั้งสองข้าง

การเลือกซื้อ
ในปัจจุบันชูก้าที่เข้ามาขายในไทยจะเป็นสายพันธ์ ออสเตเรียและ อินโดนีเซีย ซึ่งปัจจุบันมีการผสมข้ามสายพันธืกันไปจนมั่วๆแล้ว สายออสเต เรียจะมีสีเงิน จากหน้าไปถึงหาง ส่วนอินโดจะออกสีน้ำตาลหรือส้มๆ ในการเลือก ซื้อควรเลือกซื้อชูก้าที่มีอายุ 2 เดือนขึ้นไปและเห็นว่า ทานอาหารจากหลอด ให้เห็นแล้ว เลือกตัวที่ซนร่าเริงปีนป่ายเก่งๆ แต่ปกติจะไม่เห็นเพราะชู ก้าเนสัตว์กลางคืน ตอนกลางวันจึงเอาแต่นอน ส่วนชูก้าสีอื่นๆเช่น ขาวตา แดง ส้ม หายากมากที่เข้ามาในประเทศไทยราคาตกอยู่ที่หลัก แสน ถ้าเอาเข้ามา ได้

การดูแลทั่วไป
ชูก้าไกเดอร์ เป็นสัตว์สังคม และต้องการความสนใจเป็นอย่างมาก เนื่องจาก มันเป็นสัตว์สังคมต้องการเพื่อนเล่น คุณควรให้ความสนใจพวกมันและเล่นกับมัน บ่อย โดยการเล่นกับมันตั้งแต่เล็กจะทำให้มันติดคุณได้ และเมื่อเจอคุณอาจจะ กระโดเกาะเลยการเลี้ยงตัวเดียวไม่เป็นปัญหาถ้าคุณมีเวลาให้เค้าพอ
การอาบน้ำ ชูก้ามักจะทำควมสะอาดตนเองอยู๋เสมอเมือ่เราเห็นว่าตัวเค้ามี กลิ่น หรือ สกปรก ให้ใช้ผ้าชุบน้ำหมาดแล้วเช็ดตามตัวเค้าก็พอแล้วครับ
การตัดเล็บ ชูก้ามักจะมีเล็บคมและเกาะเจ็บพอสมควร เราสามารถตัดเล็บ เค้าได้โดยนำกรรไกรตัดเล็บมาตัดตรงปลายๆเล็บ ระวังอย่าตัดลึกเพราะอาจโดน เส้นเลือดหรือเส้นประสาทได้ แรกๆอาจจะยากซักหน่อยเนื่องจากเค้าไม่ค่อยอยู่ เชคให้ตัดเพราะฉะนั้นต้องแอบตัดตอนนอน หรือ ตอนกินเนี่ยแหละครับดีที่สุด

ที่อยู่อาศัย
กรงที่ใส่ควรมีขนาดใหญ่และสูงพอสมควร(เน้นสูงดีกว่าครับ) และในกรงควรมี กิ่งไม้หรือที่ให้เค้าปีนป่ายอาจใส่ของเล่นลงไป เช่น กำไล กระจก ห่วง ควรมีการระบายอะกาศอย่างถ่ายเทพอสมควร หรือ ใช้ ตู้ปลาขนาด 24 นิ้วเป็นต้นไป ซึ่งกิ่งไม้หรือที่ปีบป่านจำเป็นมากสำหรับ มัน และควรมีถุงนอนหรือผ้าไว้ด้วย เพราะตอนนอนมันชอบจะไปซุกตามถุง ผ้า หรือ โพรง

อาหารการกิน ชูก้าสามารถกินอาหารได้หลายประเพศ แยกออกเป็นแมลง ผักผล ไม้ และอาหารอื่น แมลง-จิ้งหรีด หนอนนก หนอนนกนับป็นอาหารที่โปรดปรานเป็น อันมากหรือพูดได้ว่ากินเท่าไร่ก็ไม่อิ่มเราควรให้เป็นอาหารเสริมซักอาทิตย์ ละไม่เกิน 20 ตัวพอครับ ผลไม้-ฝรั่ง มะละกอ มะมม่วงสุก แตงโม กล้วย แอบ เปิ้ล แคนตาลูป และอื่นๆครับ และยังสามารถให้อาหารจำพวกต่อไปนี้ได้อีก ครับ สำหรับชูก้าตัวเล็กที่ยังต้องป้อนจนถึงชูก้าแก่ๆก็ทานได้เหมือนกัน คือ ซีรีแลคครับ ที่นิยมใช้กันคือ เนสเล่ สูตร เริ่มต้นครับ เราอาจให้ อาหาร แมว โยเกิรด์ ขนมปัง หรือเหม็ดพืชก็ได้ไม่มีปัญหาครับ

การผสมพันธ์ อายุที่หร้อมผสมพันธ์ ตัวผู้จะอยู่ที่ 8 เดือนตัวเมียจะ อยู่ที่ 1 ปีครับการดูเพศตัวเมียจะมีกระเป๋าหน้าท้องใต้ท้องแบบจิงโจ้ครับ ลองสังเกตุกันดีดีบางคนอาจผสมได้เร็วกว่านี้ก็ขึ้นอยู่กับแต่ละตัวครับ ชู ก้าจะใช้เวลาตั้งท้องเพียงแค่16 วันและจะเลี้ยงลูกในกระเป๋าหน้าท้อง อีก 2 เดือน ซูก้าตัวน้อย จะออกมาจากตัวแม่ เพื่อเข้าถุงหน้าท้อง (เขาจะหา ทางเข้าเอง) และจะอยู่ในถุงหน้าท้องของแม่ ด้วยความปลอดภัยและอบอุ่น และจะ กินนมในถุงหน้าท้องของแม่ (ถ้าจับซูก้าตัวเมียดูที่ท้องเราจะมองไม่เห็น นม) เราจะไม่มีทางรู้ได้เลยว่า ตัวเมียท้องเมื่อไร กว่าจะรู้อีกที ก็ท้อง ป่องแล้ว มีซูก้าตัวน้อยอยู่ในท้องเรียบร้อย เราจะสามารถมองเห็นซูก้าตัว น้อยเคลื่อนไหวได้จากถุงหน้าท้อง เมื่อซูก้าน้อยพร้อมที่จะออกมาดูโลก แล้ว เขาก็จะออกมาจากท้องแม่ แต่บางทีก็ยังกลับไปดูดนมในถุงหน้าท้องของแม่

*ตัวนี้เจ้าของกระทู้ก้อเลี้ยงคู่นึงเหมือนกาน น่ารักมากๆ ขนนิ้มๆ แถมตัวผู้ชอบฉี่ใส่เรื่อยเลยอ่ะ = ="*

ประวัติคอนแทคเลนส์

ในปัจจุบัน มีประชากรถึง 2% จากทั่วโลก ที่ใส่คอนแทคเลนส์ หรือประมาณ 125 ล้านคน โดยมีที่อเมริกา 28-38 ล้านคน และที่ญี่ปุ่น 13 ล้านคน ฯลฯ โดยแต่ละคนก็ใส่คอนแทคเลนส์ก็มาจากหลากหลายเหตุผล

และหนึ่งในนั้นคือ เพื่อความคล่องตัว เพราะการใส่คอนแทคเลนส์จะทำให้คล่องตัวมากกว่าการสวมแว่นตา เช่น เล่นกีฬา ฯลฯ อีกทั้งคอนแทคเลนส์ มีผลกระทบในช่วงตอนอากาศหนาวน้อยมาก และสามารถมองได้ในมุมที่กว้าง เพราะไม่มีกรอบมาจำกัดเหมือนแว่นตาจ๊ะ

น้องๆ ที่สวมใส่คอนแทคเลนส์อยู่ตอนนี้ เคยทราบที่มาของเจ้าเลนส์จิ๋วมหัศจรรย์นี้หรือไม่ว่า มันมีที่มาที่ไปอย่างไร .........อิอิ ถ้าไม่รู้ตามมาเลย ก่อนอื่น ขอบอกว่า คอนแทคเลนส์ที่น้องๆ ใช้จะต้องถูกสวมไว้ที่ตาในส่วนของคลอเนียจ๊ะ

Adolf Fick โดยเริ่มต้น ในปี 1887 Adolf Fick ได้ผลิตคอนแทคเลนส์สำเร็จเป็นครั้งแรก โดยมันถูกทำมาจากกระจกสีน้ำตาล โดยเขาได้รับความรู้เกี่ยวกับดวงตาส่วนคลอเนียมาจาก Leonardo da Vinci จากหนังสือ Codex of the eye, Manual D ที่พิมพ์ในปี 1508

ส่วนความรู้เกี่ยวกับกระจกที่ของเหลวสามารถซึมเข้าไปได้และไปติดอยู่ที่คลอเนียได้ René Descartes ใช้กระจกใส แต่ความคิดนี้ก็ไม่ประสบผลสำเร็จ Thomas Young ก็ได้ทำการทดลองคล้ายๆกันนี้ในปี 1801

ต่อมา Sir John Herschel ได้เสนอความคิดออกมา 2 แบบ คือเรื่องเกี่ยวรูปร่างของคอนแทคเลนส์ ซึ่งควรมีลักษณะเป็นวงกลม และความคิดที่สองคือควรมีลักษณะเหมือนเจล โปร่งใสในระดับปานกลาง ซึ่งแนวความคิดทั้งสองนี้ทำให้ในปี 1929 Hungarian Dr. Dallos สามารถหาวิธีที่ดีที่สุดในการผลิตคอนแทคเลนส์ ซึ่งเขาเป็นคนแรกที่สามารถผลิตคอนแทคเลนส์ที่เหมาะสำหรับใช้กับดวงตาได้

ปี 1930 ได้มีการนำ polymethyl methacrylate (PMMA หรือ Perspex/Plexiglas) มาใช้ผลิตคอนแทคเลนส์ และมีการพัฒนาต่อมาโดย William Feinbloom ได้ผลิตคอนแทคเลนส์ ด้วยการใช้พลาสติกผสมกับแก้ว

ข้อเสียสำคัญของ polymethyl methacrylate คือ ออกซิเจนไม่สามารถผ่านได้ เลนส์ชนิดนี้จะเป็นเลนส์แบบแข็ง ส่วนเลนส์แบบนุ่มถูกสร้างโดย Otto Wichterle ซึ่งสร้างมาจาก เจล ในปี 1959 และในปี 1999 ได้นำ silicone hydrogels มาผลิตทำคอนแทคเลนส์ เพราะเลนส์ชนิดนี้ออกซิเจนสามารถผ่านได้และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้จ๊ะ